วอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022 (อังกฤษ: ASEAN Grand Prix 2022) (หรือ วอลเลย์บอลหญิง วัน อาเซียน กรังด์ปรีซ์ ครั้งที่ 2 (อังกฤษ: ONE 2nd ASEAN Grand Prix Women's Volleyball Invitation) ตามชื่อผู้สนับสนุน คือ เดอะ วัน เอ็นเตอร์ไพรส์) เป็นการแข่งขันครั้งที่ 2 ของวอลเลย์บอลอาเซียนกรังด์ปรีซ์ ซึ่งแข่งขันโดยทีมวอลเลย์บอลหญิงทีมชาติจำนวน 4 ทีม ที่เป็นสมาชิกของสมาคมวอลเลย์บอลแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SAVA) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลกีฬาระดับภูมิภาคในสังกัดสมาพันธ์วอลเลย์บอลเอเชีย (AVC) โดยแข่งขันที่จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย ระหว่างวันที่ 9–11 กันยายน พ.ศ. 2565[1][2]
ทีม
สถานที่แข่ง
รายชื่อเมืองเจ้าภาพและสถานที่มีดังนี้:
ผลการแข่งขัน
อันดับ
|
ทีม
|
แข่ง
|
ชนะ
|
แพ้
|
คะแนน
|
เซตชนะ
|
เซตแพ้
|
อัตราส่วน
|
แต้มชนะ
|
แต้มแพ้
|
อัตราส่วน
|
1
|
ไทย
|
3
|
3
|
0
|
9
|
9
|
0
|
MAX
|
226
|
164
|
1.378
|
2
|
เวียดนาม
|
3
|
2
|
1
|
6
|
6
|
3
|
2.000
|
210
|
171
|
1.228
|
3
|
อินโดนีเซีย
|
3
|
1
|
2
|
3
|
3
|
6
|
0.500
|
180
|
219
|
0.822
|
4
|
ฟิลิปปินส์
|
3
|
0
|
3
|
0
|
0
|
9
|
0.000
|
164
|
226
|
0.726
|
อันดับการแข่งขัน
|
ชนะเลิศวอลเลย์บอลหญิงอาเซียนกรังด์ปรีซ์ 2022
|
ไทย สมัยที่ 3
|
รายชื่อผู้เล่น
|
วิภาวี ศรีทอง, ปิยะนุช แป้นน้อย, พรพรรณ เกิดปราชญ์ , กรรณิการ์ ธิปะโชติ, ศศิภาพร จันทรวิสูตร, วัชรียา นวลแจ่ม, หัตถยา บำรุงสุข, ณัฐณิชา ใจแสน, แก้วกัลยา กมุลทะลา, พิมพิชยา ก๊กรัมย์, อัจฉราพร คงยศ, ธนัชชา สุขสด, ณัฎฐพร สนิทกลาง, ฑิชากร บุญเลิศ
|
หัวหน้าผู้ฝึกสอน
|
ดนัย ศรีวัชรเมธากุล
|
|
รางวัล
- ผู้เล่นทรงคุณค่า
- พิมพิชยา ก๊กรัมย์ (THA)
- ตัวเซ็ตยอดเยี่ยม
- พรพรรณ เกิดปราชญ์ (THA)
- ตัวตบหัวเสายอดเยี่ยม
- Trần Thị Thanh Thúy (VIE)
- อัจฉราพร คงยศ (THA)
- ตัวบล็อกกลางยอดเยี่ยม
- Nguyễn Thị Trinh (VIE)
- ฑิชากร บุญเลิศ (THA)
- ตัวตบตรงข้ามยอดเยี่ยม
- Megawati Hangestri Pertiwi (INA)
- ตัวรับอิสระยอดเยี่ยม
- Kyla Atienza (PHI)
ดูเพิ่ม
อ้างอิง