มะเร็งหลอดอาหาร (Esophageal cancer) |
---|
ชื่ออื่น | Oesophageal cancer |
---|
|
ภาพจากการส่องกล้องตรวจหลอดอาหารแสดงให้เห็นมะเร็งหลอดอาหารชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมาที่บริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร |
สาขาวิชา | Gastroenterology General surgery oncology |
---|
อาการ | Difficulty swallowing, weight loss, hoarse voice, enlarged lymph nodes around the collarbone, vomiting blood,[1] blood in the stool |
---|
ประเภท | Esophageal squamous-cell carcinoma, esophageal adenocarcinoma[2] |
---|
ปัจจัยเสี่ยง | Smoking tobacco, alcohol, very hot drinks, chewing betel nut, obesity, acid reflux[3][4] |
---|
วิธีวินิจฉัย | Tissue biopsy[5] |
---|
การรักษา | Surgery, chemotherapy, radiation therapy[5] |
---|
พยากรณ์โรค | Five-year survival rates ~15%[1][6] |
---|
ความชุก | 746,000 affected as of 2015[7] |
---|
การเสียชีวิต | 509,000 (2018)[8] |
---|
มะเร็งหลอดอาหาร (อังกฤษ: esophageal cancer) เป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นกับหลอดอาหาร มีชนิดย่อยหลายชนิด ส่วนใหญ่เป็นอะดีโนคาร์ซิโนมา (ประมาณ 50-80% ของมะเร็งหลอดอาหาร) และมะเร็งเซลล์สความัส มะเร็งเซลล์สความัสเกิดขึ้นมาจากเซลล์ที่บุผิวเยื่อเมือกส่วนบนของหลอดอาหาร ส่วนอะดีโนคาร์ซิโนมาเกิดขึ้นมาจากเซลล์แกลนดูลาร์ที่อยู่ที่บริเวณรอยต่อระหว่างหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร[9] เนื้องอกในหลอดอาหารมักทำให้มีอาการกลืนลำบาก (dysphagia) อาการเจ็บ และอาการอื่นๆ โดยจะต้องได้รับการวินิจฉัยด้วยการตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจทางพยาธิวิทยา เนื้องอกที่มีขนาดเล็กและอยู่เฉพาะที่อาจรักษาหายได้ด้วยการผ่าตัด เนื้องอกขนาดใหญ่มักไม่สามารถผ่าตัดได้ซึ่งจะได้รับการรักษาด้วยการรักษาประทัง ซึ่งสามารถชะลอการโตของเนื้องอกได้ด้วยการใช้เคมีบำบัด รังสีรักษา หรือรักษาร่วมกัน ในบางกรณีการใช้เคบีบำบัดหรือรังสีรักษาอาจทำให้เนื้องอกมีขนาดเล็กลงจนสามารถผ่าตัดได้ก็ได้ พยากรณ์โรคขึ้นอยู่กับว่าโรคกระจายไปมากแค่ไหนและมีปัญหาทางการแพทย์อื่นๆ หรือไม่ แต่โดยส่วนใหญ่จะมีพยากรณ์โรคไม่ค่อยดี[10]
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
การจำแนกโรค | |
---|
ทรัพยากรภายนอก | |
---|