พาราโบลา คือ ภาคตัดกรวยที่เกิดจากการตัดกันระหว่างพื้นผิวกรวยด้วยระนาบที่ขนานกับเส้นกำเนิดกรวย (generating line) ของพื้นผิวนั้น พาราโบลาสามารถกำหนดเป็นด้วยจุดต่าง ๆ ที่มีระยะห่างจากจุดที่กำหนด คือ จุดโฟกัส (focus) และเส้นที่กำหนด คือ เส้นไดเรกตริกซ์ (directrix)[1]
พาราโบลาเป็นแนวคิดที่สำคัญในทฤษฎีคณิตศาสตร์ อย่างไรก็ดี พาราโบลาสามารถพบได้บ่อยมากในโลกภายนอก และสามารถนำไปใช้เป็นประโยชน์ในวิศวกรรม ฟิสิกส์ และศาสตร์อื่น ๆ[1]
พาราโบลามีหลายรูปชนิด เช่นกรวยคว่ำกรวยหงาย บางทีตัดผ่าน 2 ช่อง บางทีตัดผ่าน 4 ช่อง แล้วแต่สมการที่มีการกำหนดมา ซึ่งจะเป็นชนิดใดก็ได้แต่ไม่สามารถเปนเส้นตรงๆได้เพราะจะไม่เรียกว่าพาราโบลา[1]
ประวัติ
ส่วนประกอบของพาราโบลา
- เส้นคงที่ เรียกว่า ไดเรกตริกซ์ของพาราโบลา
- จุดคงที่ (F) เรียกว่า โฟกัสของพาราโบลา
- แกนสมมาตร คือเส้นตรงที่ลากผ่านโฟกัส และตั้งฉากกับไดเรกตริกซ์
- จุดยอด (V) คือจุดยอดที่พาราโบลาตัดกับแกนของพาราโบลา
- เลตัสเรกตัม (AB) คือส่วนของเส้นตรงที่ผ่านโฟกัส และมีจุดปลายทั้งสองอยู่บนพาราโบลา และตั้งฉากกับแกนของพาราโบลา
อ้างอิง
- ↑ 1.0 1.1 1.2 พาราโบลาเบื้องต้น
หนังสืออ่านเพิ่ม
- Lockwood, E. H. (1961). A Book of Curves. Cambridge University Press.[ไอเอสบีเอ็น ไม่มี]
แหล่งข้อมูลอื่น
- Hazewinkel, Michiel, บ.ก. (2001), "Parabola", Encyclopedia of Mathematics, Springer, ISBN 978-1-55608-010-4
- เอริก ดับเบิลยู. ไวส์สไตน์, "Parabola" จากแมทเวิลด์.
- Interactive parabola-drag focus, see axis of symmetry, directrix, standard and vertex forms
- Archimedes Triangle and Squaring of Parabola at cut-the-knot
- Two Tangents to Parabola at cut-the-knot
- Parabola As Envelope of Straight Lines at cut-the-knot
- Parabolic Mirror at cut-the-knot
- Three Parabola Tangents at cut-the-knot
- Module for the Tangent Parabola
- Focal Properties of Parabola at cut-the-knot
- Parabola As Envelope II at cut-the-knot
- The similarity of parabola at Dynamic Geometry Sketches, interactive dynamic geometry sketch.