จีอี (รถจักร)
Manila Railroad 2000 class GE UM12C[1][2] |
---|
| | คุณลักษณะ |
---|
การกำหนดค่า:
| |
---|
• AAR | C-C[2] |
---|
• UIC | Co'Co'[3] |
---|
ช่วงกว้างราง | 1,067 mm (3 ft 6 in) (PNR) 1,000 mm (3 ft 3 3⁄8 in) (รฟท.)[1][2] |
---|
เส้นผ่าศูนย์กลางล้อ | 914 mm (36.0 in)[3] |
---|
ความยาว | 16,288 mm (53 ft 5.3 in)[3] |
---|
ความกว้าง | 2,794 mm (9 ft 2.0 in)[3] |
---|
ความสูง | 3,753 mm (12 ft 3.8 in)[3] |
---|
น้ำหนักรถจักร | 70.178 ton (empty)[3] 75.00 ton (in working order)[3] |
---|
เครื่องยนต์ | Cummins KT38L (รฟท.) Cooper Bessemer (PNR) |
---|
พิสัยรอบต่อนาที | 2,000 รอบต่อนาที[3] |
---|
ลูกสูบ | V12[2] |
---|
ระบบเบรคทั้งหมด | เบรกด้วยการอัดอากาศ[3] และเบรกสุญญากาศ[3] |
---|
| ค่าประสิทธิภาพ |
---|
ความเร็วสูงสุด | 103 km/h (64 mph)[3] |
---|
กำลังขาออก | 1,320 hp (0.98 MW)[3] |
---|
| |
เจเนอรัล อิเล็กทริก ยูเอ็ม12ซี (อังกฤษ: General Electric UM12C) หรือ จีอี (GE) เป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้า ที่การรถไฟแห่งประเทศไทย นำเข้าจากบริษัทเจเนอรัลอิเล็กทริกทรานส์ปอร์เทชัน สหรัฐอเมริกา นำเข้ามาใช้งานจำนวนทั้งสิ้น 50 คัน หมายเลข 4001 - 4050 เข้ามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 - 2509 โดยมีหมายเลข 4001 - 4040 เข้ามาในไทย พ.ศ. 2507 และมีหมายเลข 4041 - 4050 เข้ามาในไทย พ.ศ. 2509 ปัจจุบันเป็นรถจักรดีเซลไฟฟ้าอายุมากที่สุดที่ยังคงใช้งานเป็นหลัก ปัจจุบันมักทำขบวนรถธรรมดา ขบวนรถชานเมือง รวมไปถึงขบวนรถสินค้าที่ยังคงใช้ระบบห้ามล้อแบบสุญญากาศ และยังใช้ในงานสับเปลี่ยนตามย่านสถานีต่าง ๆ
และในปัจจุบัน รถจักรดีเซลไฟฟ้า จีอี (GE) คงเหลือใช้การได้ทั้งหมด 42 คัน และตัดบัญชีทั้งหมด 8 คัน คงเหลือตัวโครงรถอยู่ 6 คัน คือหมายเลข 4003 ,4020 ,4030 , 4032 ,4034และ 4035 และถูกตัดเป็นเศษเหล็กไม่เหลือเค้าโครงรถเดิม 2 คัน คือหมายเลข 4046 และ 4049
ข้อมูลรถจักร
- ชนิดรถจักร รถจักรดีเซลไฟฟ้า (Diesel Electric Locomotives)
- ชื่อเรียก GE
- โมเดลโรงงาน UM12C
- เครื่องยนต์ Cummins KT38-L ขนาดความจุ 38,000 ชีชี. 12 สูบ มี 2 เครื่องยนต์ (เดิมใช้เครื่องยนต์ Cummins VT12-825B1)
- แรงม้า 660 แรงม้า X 2 เครื่อง = 1,320 แรงม้า ที่รอบเครื่องยนต์ 2,000 รอบต่อนาที
- น้ำหนักรถจักร 70.178 ตัน (เมื่อจอดนิ่ง) / 75.00 ตัน (ขณะทำขบวน)
- น้ำหนักกดเพลา 12.5 ตัน
- การจัดวางล้อ Co-Co
- พิกัดตัวรถ กว้าง 2,794 มม. / สูง 3,753 มม. / ยาว 16,288 มม.
- ระบบห้ามล้อ ลมดูดล้วน,ลมดูด/ลมอัด,ลมอัดล้วน
- ความจุ 3,500 ลิตร
- ความเร็วสูงสุด 103 กม./ชม.
- บริษัทผู้ผลิต บริษัท เจเนอรัลอิเล็กทริก (General Electric) ,ประเทศสหรัฐอเมริกา
- ราคาต่อคัน 4,590,384.30 บาท
- จำนวน 50 คัน
- เริ่มใช้งาน พ.ศ. 2507 - พ.ศ. 2509
- หวีดดั้งเดิมที่ใช้คือหวีด Wabco B-7
GE-K
ช่วงที่มีการเปลี่ยนเครื่องยนต์ใหม่จากเครื่องยนต์ Cummins VT12-825B1 มาเป็นเครื่องยนต์ Cummins ตระกูล K2300 หรือ Cummins KT38-L ทำให้ช่วงนั้นมีเครื่องยนต์ในรถจักร จีอี ที่ใช้เครื่องยนต์ถึงสองแบบจึงมีการแยกประเภทด้วยการเติม -เค (-K) ต่อท้ายชื่อรุ่นที่เปลี่ยนเครื่องยนต์ เป็น จีอี-เค (GE-K) ในเอกสารการซ่อมบำรุง เพื่อแยกรถที่เปลี่ยนเครื่องยนต์แล้วกับรถที่ใช้เครื่องยนต์เดิม ปัจจุบัน จีอี ใช้เครื่องแบบ Cummins KT-38L แต่ในบัญชีและเอกสารข้อมูลต่าง ๆ ยังคงใช้ชื่อ จีอี อยู่แต่ก็มีการเรียกติดปากเป็น จีอี-เค (GE-K) อยู่บ้าง
ระบบห้ามล้อ
- ลมดูดอย่างเดียว หมายเลข 4001 - 4027 (ยกเว้น †4003 4004 4005 4006 4007 4008 4011 4016 4017 4018 4023 4026)
- ลมดูด/ลมอัด หมายเลข †4003, 4004, 4005, 4006, 4007, 4008, 4011, 4016, 4017, 4023, 4026, 4029 - 4050 (ยกเว้น 4038)
- ลมอัดอย่างเดียว หมายเลข 4018,4028, 4038
รถจักรพิเศษ
- หมายเลข †4030 จะมีหูสีแดงสองข้าง หลายคนเรียกว่า มิกกี้เมาส์
- หมายเลข 4002 4006 4007 4017 4019 †4020 4025 4029 †4030 4033 †4034 4038 4039 4042 4043 4048 เป็นรถจักรที่มีการทำสีตัวรถใหม่
- หมายเลข 4026 เป็นรถจักรที่มีการทำสีแบบพิเศษ โดยเป็นการผสมสีรูปแบบเก่ากับสีรูปแบบใหม่เข้าด้วยกัน และเป็นรถจักรคันเดียวในรุ่น ที่มีการกำกับเลขข้างรถ 8จุด(หน้ารถจักร 2 ฝั่ง ฝั่งละ2จุด ข้างรถจักร2ฝั่ง ตำแหน่งห้องขับฝั่งละ2จุด)
- หมายเลข 4029 4033 4047 เป็นรถจักรที่มีการหุ้มเกราะกันกระสุน
- หมายเลข 4045 เป็นรถจักรที่มีการติดตั้งหวีดของรถจักรจีอีเอ (GEA)
- หมายเลข †4035 4027 เป็นรถจักรที่ยังมีระฆังสัญญาณ อยู่ในสภาพที่เกือบสมบูรณ์ โดยที่หมายเลข †4035ยังมีระฆังติดอยู่กับซากรถจักร
- หมายเลข 4047 เป็นรถจักรที่ยังมีระฆังสัญญาณ แต่ไม่มีกระเดื่องภายใน
- หมายเลข4006 †4034 4039เป็นรถจักรที่มีการดัดแปลงระบบเร่งรอบ เป็นแบบรถจักรจีอีเอ(GEA)
- หมายเลข 4028 เป็นรถจักรที่ใช้หวีดดังเดิมตือหวีด Wabco B-7
รถจักรที่ประสบอุบัติเหตุ
รถจักรที่ตัดบัญชี
หมายเลข |
ลักษณะอุบัติเหตุ |
ขบวนที่ทำ |
วันที่ |
สถานที่ |
ความเสียหาย |
สถานะปัจจุบัน |
อ้างอิง
|
†4003 |
ไฟไหม้ขณะทำขบวนรถสินค้าสายเหนือ |
ขบวนรถสินค้าน้ำมันสำเร็จรูปสายเหนือ |
- |
- |
ตัวรถ (ไฟไหม้เสียหายทั้งหมด) |
ตัดบัญชี |
-
|
†4020
|
ชนกับรถจักรหมายเลข 4030 และ 4223
|
-
|
วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2562
|
สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
|
-
|
ตัดบัญชี
|
-
|
†4030
|
อุบัติเหตุเดียวกันกับหมายเลข 4020
|
-
|
วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2562
|
สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย จังหวัดสระบุรี
|
-
|
ตัดบัญชี
|
-
|
†4032 |
ตกรางเนื่องจากการกระทำของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ |
ขบวนรถสายใต้ขบวนรถท้องถิ่นที่ 456 ยะลา - นครศรีธรรมราช |
- |
ระหว่างสถานีรถไฟนาประดู่กับสถานีรถไฟปัตตานี จังหวัดปัตตานี |
- |
ตัดบัญชี |
-
|
†4034
|
ชนกับรถบรรทุก10ล้อ
|
รถสินค้าที่ 777 ชุมทางบางซื่อ - ชุมทางทุ่งสง
|
วันที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2561
|
สถานีรถไฟควนหินมุ้ย จังหวัดชุมพร
|
-
|
ตัดบัญชี
|
-
|
†4035 |
ชนกับขบวนรถด่วนพิเศษดีเซลรางนั่งปรับอากาศที่ 39/41 กรุงเทพ - สุราษฎร์ธานี/ยะลา |
ขบวนรถเร็วที่ 178 หลังสวน - ธนบุรี |
วันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2550 |
สถานีรถไฟหนองแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ |
เสียหายทั้งหมด |
ตัดบัญชี |
-
|
†4046 |
ถูกขบวนรถสินค้าไถลลงมาทับ |
ขบวนรถสินค้าน้ำมันสำเร็จรูป |
วันที่ 6 มิถุนายน พ.ศ. 2543 |
สถานีรถไฟหนองบัวลาย จังหวัดนครราชสีมา |
ไฟไหม้เสียหายทั้งหมด |
ตัดบัญชี |
-
|
†4049 |
ชนกับรถบรรทุก 10 ล้อ |
ขบวนรถสินค้าน้ำมันสำเร็จรูปสายตะวันออก |
วันที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 |
บริเวณสถานีรถไฟชุมทางศรีราชา จังหวัดชลบุรี |
ไฟไหม้เสียหายทั้งหมด |
ตัดบัญชี |
-
|
รายชื่อหมายเลขรถจักร
เจเนอรัล อิเล็กทริก ยูเอ็ม12ซี (General Electric UM12C)
หมายเลขรถจักร
|
หมายเลขที่ผลิต
|
รุ่น
|
แรงม้า
|
เครื่องยนต์
|
ล้อ
|
ขนาดความกว้างรางรถไฟ
|
ปีที่เข้าประจำการ
|
ระบบห้ามล้อ
|
หมายเหตุ
|
4001
|
34850
|
UM12C
|
1320
|
VT12-825B1
|
Co-Co
|
1.000 เมตร (Metre gauge)
|
ตุลาคม - ธันวาคม พ.ศ. 2506
|
ลมดูด
|
|
4002
|
34851
|
|
4003
|
34852
|
ลมดูด/ลมอัด
|
ไฟไหม้ขณะทำขบวนรถสินค้าสายเหนือ
|
4004
|
34853
|
|
4005
|
34854
|
|
4006
|
34855
|
|
4007
|
34856
|
|
4008
|
34857
|
|
4009
|
34858
|
ลมดูด
|
|
4010
|
34859
|
|
4011
|
34860
|
ลมดูด/ลมอัด
|
|
4012
|
34861
|
ลมดูด
|
|
4013
|
34862
|
|
4014
|
34863
|
|
4015
|
34864
|
|
4016
|
34865
|
ลมดูด/ลมอัด
|
|
4017
|
34866
|
|
4018
|
34867
|
ลมอัด
|
|
4019
|
34868
|
ลมดูด
|
|
4020
|
34869
|
|
4021
|
34870
|
|
4022
|
34871
|
|
4023
|
34872
|
ลมดูด/ลมอัด
|
|
4024
|
34873
|
ลมดูด
|
|
4025
|
34874
|
|
4026
|
34875
|
ลมดูด/ลมอัด
|
|
4027
|
34876
|
ลมดูด
|
|
4028
|
34877
|
|
4029
|
34878
|
ลมดูด/ลมอัด
|
มีการหุ้มเกราะกันกระสุน
|
4030
|
34879
|
มีหูสีแดงสองข้าง หลายคนเรียกว่า มิกกี้เมาส์
|
4031
|
34880
|
|
4032
|
34881
|
ตกรางเนื่องจากการกระทำของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ระหว่างสถานีรถไฟนาประดู่กับสถานีรถไฟปัตตานี จังหวัดปัตตานี
|
4033
|
34882
|
มีการหุ้มเกราะกันกระสุน
|
4034
|
34883
|
|
4035
|
34884
|
มีกระดิ่งหู;
ชนกับขบวนรถด่วนพิเศษที่ 39/41 กรุงเทพ - สุราษฎร์ธานี/ยะลา ที่สถานีรถไฟหนองแก จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
|
4036
|
34885
|
|
4037
|
34886
|
|
4038
|
34887
|
ลมอัด
|
|
4039
|
34888
|
ลมดูด/ลมอัด
|
|
4040
|
34889
|
|
4041
|
35947
|
กรกฎาคม - กันยายน พ.ศ. 2509
|
|
4042
|
35948
|
|
4043
|
35949
|
|
4044
|
35950
|
|
4045
|
35951
|
มีการติดตั้งหวีดของรถจักรจีอีเอ
|
4046
|
35952
|
ถูกขบวนรถสินค้าไถลลงมาทับ ที่สถานีรถไฟหนองบัวลาย จังหวัดนครราชสีมา
|
4047
|
35953
|
มีการหุ้มเกราะกันกระสุน
|
4048
|
35954
|
|
4049
|
35955
|
ชนกับรถบรรทุก 10 ล้อ ที่บริเวณสถานีรถไฟชุมทางศรีราชา จังหวัดชลบุรี
|
4050
|
35956
|
|
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
|