จัณฑีครห์ |
---|
|
|
สมญา: เมืองแห่งความสวย (The City of Beauty [a]) |
|
พิกัด: 30°45′N 76°47′E / 30.75°N 76.78°E / 30.75; 76.78 |
ประเทศ | อินเดีย |
---|
จัดตั้งตั้ง ดินแดนสหภาพ†† | 1 พฤษภาคม 1966 |
---|
การปกครอง |
---|
• ประเภท | เทศบาลดินแดนสหภาพ |
---|
• องค์กร | องค์การเทศบาลจัณฑีครห์ |
---|
• ผู้ดูแลเทศบาล | วี.พี. สิงห์ บาดนอร์ |
---|
• นายกเทศบาล | อรุณ สูด |
---|
พื้นที่ |
---|
• ดินแดนสหภาพ | 114 ตร.กม. (44 ตร.ไมล์) |
---|
อันดับพื้นที่ | ที่ 35 |
---|
ความสูง | 321 เมตร (1,053 ฟุต) |
---|
ประชากร |
---|
• ดินแดนสหภาพ | 1,055,450 คน |
---|
• ความหนาแน่น | 9,262 คน/ตร.กม. (23,988 คน/ตร.ไมล์) |
---|
• รวมปริมณฑล[3] | 1,025,682 (ที่ 51) คน |
---|
• พื้นที่เขตเมือง[4] | 1,611,770 |
---|
ภาษา |
---|
• ทางการ | ภาษาอังกฤษ[5] |
---|
เขตเวลา | UTC+5:30 (IST) |
---|
PIN | 160XXX |
---|
รหัสโทรศัพท์ | +91-172-XXX-XXXX |
---|
รหัส ISO 3166 | IN-CH |
---|
ทะเบียนพาหนะ | CH-01 (Current), CH-02 (Commercial Vehicles & Taxis), PB-01(Taxis to Chandigarh),[6] CH-03, CH-04 (Both Discontinued) |
---|
การรู้หนังสือ | 86.77% |
---|
HDI (2017) | 0.775[7] (High) · ที่ 2 |
---|
เว็บไซต์ | chandigarh.gov.in |
---|
|
†The city of Chandigarh comprises all of the union territory's area. ††under Section 4 of the Punjab Reorganisation Act, 1966. |
จัณฑีครห์ [จัน-ดี-คะ-ระ] (ฮินดี: चण्डीगढ़, ออกเสียง: [tʃəɳˈɖiːɡəɽʱ] ( ฟังเสียง); ปัญจาบ: ਚੰਡੀਗੜ੍ਹ) เป็นเมือง อำเภอ และดินแดนสหภาพ ในประเทศอินเดีย เป็นเมืองหลวงร่วมของรัฐปัญจาบและรัฐหรยาณา จัณฑีครห์เป็นส่วนหนึ่งของภูมิภาคเมืองหลวงจัณฑีครห์หรือเกรเตอร์ชันดิการ์ (Greater Chandigarh) ซึ่งประกอบด้วยจัณฑีครห์, เมืองปัญจกุลา (ในรัฐหรยาณา) และเมืองขารา, กุรลี, โมหาลี, ซีรากปุระ (ในรัฐปัญจาบ)
จัณฑีครห์เป็นหนึ่งในเมืองที่มีการวางแผนไว้ก่อนเมืองแรก ๆ ในอินเดียยุคหลังได้รับเอกราช และเป็นที่รู้จักในระดับโลกจากงานศิลปะและสถาปัตยกรรมของเมือง[10] แพลนหลักกลาง (master plan) ของเมืองนั้นสร้างขึ้นโดยสถาปนิกชาวฝรั่งเศส-สวิสผู้เลื่องชื่อเลอกอร์บูซีเย ที่ซึ่งดัดแปลงมาจากแพลนเดิมที่สร้างสรรค์โดยสถาปนิกชาวโปแลนด์ Maciej Nowicki และนักวางผังเมืองชาวอเมริกัน แอลเบิร์ต แมร์ อาคารที่ทำการของรัฐบาลส่วนใหญ่และที่อยู่อาศัยในเมืองนั้นออกแบบโดยคณะโครงการเมืองหลวงจัณฑีครห์ (Chandigarh Capital Project Team) ซึ่งนำโดยเลอกอร์บูซีเย, เจน ดรูว์ และแม็กซ์เวลล์ ฟราย บทความชิ้นหนึ่งที่ตีพิมพ์ในปี 2015 โดยบีบีซีได้ให้จัณฑีครห์เป็นหนึ่งในไม่กี่เมืองที่มีการวางผังในระดับใหญ่ (master-planned cities) ของโลก ที่สามารถประสบความสำเร็จในแง่ของการรวมสถาปัตยกรรมระดับอัศจรรย์, การเติบโตทางวัฒนธรรม และการทำเป็นสมัยใหม่ (monumental architecture, cultural growth, and modernisation)[11]
อ้างอิง
อ้างอิงผิดพลาด: มีป้ายระบุ <ref>
สำหรับกลุ่มชื่อ "lower-alpha" แต่ไม่พบป้ายระบุ <references group="lower-alpha"/>
ที่สอดคล้องกัน