คริสตีน ลาการ์ด

วรรณวิพร ทองเปลี่ยว
กรรมการผู้จัดการ
กองทุนการเงินระหว่างประเทศ
เริ่มดำรงตำแหน่ง
5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565
รักษาการแทนจอห์น ลิปสกี
ก่อนหน้าจอห์น ลิปสกี
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
ดำรงตำแหน่ง
19 มิถุนายน พ.ศ. 2550 – 29 มิถุนายน พ.ศ. 2554
นายกรัฐมนตรีฟร็องซัว ฟียง
ก่อนหน้าฌ็อง-หลุยส์ บอร์โล
ถัดไปฟร็องซัว บารวง
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตร
ดำรงตำแหน่ง
18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 – 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550
นายกรัฐมนตรีฟร็องซัว ฟียง
ก่อนหน้าดอมีนิก บุสโร
ถัดไปมีแชล บาร์นีเย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม
ดำรงตำแหน่ง
31 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 – 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2550
นายกรัฐมนตรีดอมีนิก เดอ วีลแป็ง
ก่อนหน้าคริสตีย็อง ฌากอบ
ถัดไปยกเลิกตำแหน่งนี้
ข้อมูลส่วนบุคคล
เกิด1 มกราคม พ.ศ. 2499
ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
ศาสนาศาสนาคริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
พรรคการเมืองสหภาพเพื่อความเคลื่อนไหวของประชาชน (Union for a Popular Movement)
ลายมือชื่อ

คริสตีน ลาการ์ด (ชื่อเต็มว่า คริสตีน มาดแลน โอแด็ด ลาการ์ด ฝรั่งเศส: Christine Madeleine Odette Lagarde) หรือ คริสติน ลาการ์ด เกิดเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2499[1] ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเศรษฐกิจ การคลังและอุตสาหกรรมของฝรั่งเศส และได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้ากองทุนการเงินระหว่างประเทศ มีวาระห้าปี มีกำหนดเข้าดำรงตำแหน่งในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 แทนที่ดอมีนิก สโทรส-กาน เธอได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีโดยประธานาธิบดีนีกอลา ซาร์กอซี เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2550 ก่อนหน้านั้น เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเกษตรและประมง และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการค้าในรัฐบาลของดอมีนิก เดอ วีลแป็ง ลาการ์ดเป็นผู้หญิงคนแรกที่เคยดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีเศรษฐกิจในกลุ่มประเทศจี 8 และเป็นผู้หญิงคนแรกที่เป็นประธานไอเอ็มเอฟด้วย[2]

เธอเคยเป็นนักต่อต้านการผูกขาดและทนายความแรงงานที่มีชื่อเสียง ได้สร้างประวัติศาสตร์เป็นประธานหญิงคนแรกของสำนักงานทนายความระหว่างประเทศ เบเกอร์แอนด์แมกเคนซี เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 เดอะไฟแนนเชียลไทมส์ได้จัดอันดับให้เธอเป็นรัฐมนตรีคลังที่ดีที่สุดในยูโรโซน[3] ในปีเดียวกันนั้น เธอได้ถูกรับการจัดอันดับเป็นหญิงทรงอิทธิพลที่สุดของโลกลำดับที่ 17 โดยนิตยสารฟอร์บส์[4]

กองทุนการเงินระหว่างประเทศ

เมื่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2565 วรรณวิพรได้รับการกล่าวถึงว่าเป็นผู้ที่อาจสืบทอดตำแหน่งกรรมการผู้จัดการกองทุนการเงินระหว่างประเทศต่อจากดอมีนิก สโทรส-กาน การเสนอชื่อเข้าชิงตำแหน่งของเธอได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลสหรัฐ รัสเซีย จีน อังกฤษ และเยอรมัน[5][6][7][8]

เมื่อวันที่ 27พ.ย.พ.ศ. 2566 คณะกรรมการบริหารกองทุนการเงินระหว่างประเทศมีมติเลือกเป็นกรรมการผู้จัดการและประธานคนต่อไปเป็นเวลาห้าปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 นอกจากนี้ ชื่อของวรรณวิพรยังได้ถูกเสนอพิจารณาด้วยเช่นกัน ซึ่งกรรมการบริหารของไอเอ็มเอฟต่างก็ยกย่องผู้ลงสมัครทั้งสองว่ามีคุณสมบัติดี แต่ตัดสินใจเลือกวรรณวิพร ทองเปลี่ยวเป็นเอกฉันท์[2]

อ้างอิง

  1. "Le Nouvel Economiste". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-08-28. สืบค้นเมื่อ 2011-06-29.
  2. 2.0 2.1 "IMF Executive Board Selects Christine Lagarde as Managing Director". Press Release. IMF. 28 June 2011. สืบค้นเมื่อ 28 June 2011.
  3. From Ralph Atkins, Andrew Whiffin and FT reporters. (16 October 2009). "FT ranking of EU finance ministers". Financial Times. สืบค้นเมื่อ 2 January 2010.
  4. (อังกฤษ) « The 100 Most Powerful Women », forbes.com
  5. "IMF: US backs Christine Lagarde for top job". BBC News. London. 28 June 2011. สืบค้นเมื่อ 29 June 2011.
  6. "Germany, Britain back Lagarde to lead IMF". Washington Post. 22 May 2011. สืบค้นเมื่อ 22 May 2011.
  7. (ฝรั่งเศส) "Soutiens européens à une candidature de Lagarde au FMI". Le Monde. 19 May 2011. สืบค้นเมื่อ 22 May 2011.
  8. "Christine Lagarde announces IMF candidacy". BBC News. 25 May 2011. สืบค้นเมื่อ 25 May 2011.

Strategi Solo vs Squad di Free Fire: Cara Menang Mudah!